ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิกินิกซ์:กฏกำหนดข้อใช้งาน/คู่มือการเขียน"

จาก *nix in Thailand
สร้างหน้าด้วย "คู่มือการเขียนเป็นระเบียบของบทความหนังสือกำกับเสรีทั้งหมด == ชื่อบทความ == === เนมสเปส Docs: ==="
 
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
(ไม่แสดง 2 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 1 คน)
บรรทัดที่ 2: บรรทัดที่ 2:


== ชื่อบทความ ==
== ชื่อบทความ ==
ทุกคนสามารถสร้างบทความใหม่ได้ แต่ต้องแยกเนมสเปสตามหมวดหมู่ หมวดหมู่ปัจจุบันที่ผู้ใช้ธรรมดาสามารถแก้ไขได้มี
* '''Docs:''' พื้นที่สำหรับคู่มือ หรือหนังสือกำกับต่าง ๆ
* '''How-To:''' พื้นที่สำหรับวิธีการทำ พ้องความหมายกับคำว่า Tutorial
* '''Dialect:''' พื้นที่สำหรับเอกสารกำกับการเทศาภิวัตน์ (localization; การปรับซอฟต์แวร์ให้เป็นภาษาไทย) โดยเฉพาะ
สามารถสร้างบทความใหม่ได้โดยการไปที่หน้าที่ไม่มีบทความอยู่โดยการกดค้นหา


=== เนมสเปส Docs: ===
=== เนมสเปส Docs: ===
วิธีการตั้งชื่อเนมสเปสของ Docs: มีดังนี้
* ต้องตั้งชื่อตามซอฟต์แวร์ เช่น [[Docs:Linux]], [[Docs:BTRFS]]
* ถ้าหากเป็นคุณสมบัติในซอฟต์แวร์ที่คิดว่าใหญ่พอเหมาะจะสร้างหน้าใหม่ สามารถสร้างหน้าชั้นต่อไปได้ เช่น [[Docs:Linux/Kernel modules]]
สิ่งที่ไม่ควรทำ/มักจะทำผิด
* ละเอียดอ่อนเกินไป เช่น [[Docs:Linux/Kernel modules/Compiling/GNU Compiler Collection]]
* สร้างหน้าซอฟต์แวร์ชั้นต่อไปของระบบปฏิบัติการ เช่น [[Docs:Linux/Dovecot]]
=== เนมสเปส How-To: ===
== เนื้อหา ==
=== การใช้ภาษา ===
ภาษาไทยสามารถใช้ระดับภาษาได้หลายระดับ โดยที่ใช้ไม่เหมือนกันในบางสถานการ แต่ถ้าหากใช้กับหนังสือกำกับเสรีนิกซ์ สามารถใช้ภาษาได้ทุกระดับที่ค่อนข้างสุภาพ "ระดับ" ความสุภาพเป็นสเปกตรัมระหว่างภาษาพูดกันบ้าน ๆ (ภาษาระดับกันเอง) ไปยังภาษาระดับพิธีการ แต่สิ่งที่สำคัญกว่าระดับภาษา คือ เนื้อหาควรเน้นไปในภาษาที่เข้าใจง่ายกว่า เนื้อหาจะมีประโยชน์ต่อเมื่อผู้อ่านอ่านเข้าใจ ระดับภาษาสูงขนาดไหนหากผู้อ่านไม่เข้าใจก็ไร้ประโยชน์ ความเข้าใจง่ายจึงจะมีน้ำหนักมากกว่าระดับภาษาเสมอ

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 18:11, 2 กรกฎาคม 2568

คู่มือการเขียนเป็นระเบียบของบทความหนังสือกำกับเสรีทั้งหมด

ชื่อบทความ[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

ทุกคนสามารถสร้างบทความใหม่ได้ แต่ต้องแยกเนมสเปสตามหมวดหมู่ หมวดหมู่ปัจจุบันที่ผู้ใช้ธรรมดาสามารถแก้ไขได้มี

  • Docs: พื้นที่สำหรับคู่มือ หรือหนังสือกำกับต่าง ๆ
  • How-To: พื้นที่สำหรับวิธีการทำ พ้องความหมายกับคำว่า Tutorial
  • Dialect: พื้นที่สำหรับเอกสารกำกับการเทศาภิวัตน์ (localization; การปรับซอฟต์แวร์ให้เป็นภาษาไทย) โดยเฉพาะ

สามารถสร้างบทความใหม่ได้โดยการไปที่หน้าที่ไม่มีบทความอยู่โดยการกดค้นหา

เนมสเปส Docs:[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

วิธีการตั้งชื่อเนมสเปสของ Docs: มีดังนี้

  • ต้องตั้งชื่อตามซอฟต์แวร์ เช่น Docs:Linux, Docs:BTRFS
  • ถ้าหากเป็นคุณสมบัติในซอฟต์แวร์ที่คิดว่าใหญ่พอเหมาะจะสร้างหน้าใหม่ สามารถสร้างหน้าชั้นต่อไปได้ เช่น Docs:Linux/Kernel modules

สิ่งที่ไม่ควรทำ/มักจะทำผิด

เนมสเปส How-To:[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

เนื้อหา[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

การใช้ภาษา[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

ภาษาไทยสามารถใช้ระดับภาษาได้หลายระดับ โดยที่ใช้ไม่เหมือนกันในบางสถานการ แต่ถ้าหากใช้กับหนังสือกำกับเสรีนิกซ์ สามารถใช้ภาษาได้ทุกระดับที่ค่อนข้างสุภาพ "ระดับ" ความสุภาพเป็นสเปกตรัมระหว่างภาษาพูดกันบ้าน ๆ (ภาษาระดับกันเอง) ไปยังภาษาระดับพิธีการ แต่สิ่งที่สำคัญกว่าระดับภาษา คือ เนื้อหาควรเน้นไปในภาษาที่เข้าใจง่ายกว่า เนื้อหาจะมีประโยชน์ต่อเมื่อผู้อ่านอ่านเข้าใจ ระดับภาษาสูงขนาดไหนหากผู้อ่านไม่เข้าใจก็ไร้ประโยชน์ ความเข้าใจง่ายจึงจะมีน้ำหนักมากกว่าระดับภาษาเสมอ